ၵႂၢမ်း
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɣwaːmᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ความ, ปักษ์ใต้ ขว่าม, อีสาน ความ, ลาว ຄວາມ (ความ), คำเมือง ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ (ฅวาม), เขิน ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ (ความ), ไทลื้อ ᦩᦱᧄ (ฅวาม) หรือ ᦨᦱᧄ (ความ), ไทดำ ꪁꪫꪱꪣ (กฺวาม), ไทขาว ꪅꪱꪣ, ไทใต้คง ᥑᥣᥛᥰ (ฃ๊าม), อาหม 𑜁𑜪 (ขํ) หรือ 𑜁𑜨𑜪 (ขอ̂ํ).
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kwaːm˥/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: กฺว๊าม
เสียง: (file) - สัมผัส: -aːm
คำนาม
[แก้ไข]ၵႂၢမ်း • (กฺว๊าม)
การใช้
[แก้ไข]คำว่า "ภาษา" ในภาษาไทยตรงกับ 3 คำในภาษาไทใหญ่ คือ ၵႂၢမ်း (กว๊าม) လိၵ်ႈ (ลิ้ก) และ ၽႃႇသႃႇ (ผ่าส่า) เมื่อใช้กับชื่อภาษา จะหมายถึงภาษาพูดของภาษานั้น เช่น เมื่อประสมกับ တႆး (ไต๊, “ไทใหญ่, ไท”) เป็น ၵႂၢမ်းတႆး (กว๊ามไต๊) จะหมายถึง ภาษาพูดของภาษาไทใหญ่ ถ้าจะสื่อถึงภาษาเขียนให้ใช้ လိၵ်ႈ (ลิ้ก) เช่น လိၵ်ႈတႆး (ลิ่กไต๊) หรือถ้าจะกล่าวถึงภาษาแบบโดยรวมให้ใช้ ၽႃႇသႃႇ (ผ่าส่า) เช่น ၽႃႇသႃႇတႆး (ผ่าส่าไต๊)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีลิงก์เสียง
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/aːm
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำนามภาษาไทใหญ่
- ไทใหญ่ entries with incorrect language header
- คำนามภาษาไทใหญ่ที่ใช้คำลักษณนาม ၶေႃႈ
- คำนามภาษาไทใหญ่ที่ใช้คำลักษณนาม ၽႃႇသႃႇ
- คำนามภาษาไทใหญ่ที่ใช้คำลักษณนาม မဵဝ်း
- คำนามภาษาไทใหญ่ที่ใช้คำลักษณนาม ပုၵ်ႈ
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีตัวอย่างการใช้