วา

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ว่า และ ว้า

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์วา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงwaa
ราชบัณฑิตยสภาwa
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/waː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *waːᴬ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩅᩤ (วา), ภาษาเขิน ᩅᩤ (วา), ภาษาลาว ວາ (วา), ภาษาไทลื้อ ᦞᦱ (วา), ภาษาไทขาว ꪫꪱ, ภาษาไทใหญ่ ဝႃး (ว๊า), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥰ (ว๊า), ภาษาพ่าเก ဝႃ (วา), ภาษาอาหม 𑜈𑜠 (บะ)

คำนาม[แก้ไข]

วา

  1. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ 4 ศอก มีอัตราเท่ากับ 2 เมตร, อักษรย่อว่า ว.

คำกริยา[แก้ไข]

วา (คำอาการนาม การวา)

  1. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง 2 ข้าง
คำประสม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

วา

  1. เพลงปี่พาทย์ทำนองหนึ่ง ใช้บรรเลงก่อนตัวแสดงออกแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่าการแสดงจะเริ่มแล้ว

ภาษาชอง[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *swaaʔ

คำนาม[แก้ไข]

วา

  1. ลิง

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จากภาษาสันสกฤต वा (วา)

คำสันธาน[แก้ไข]

วา

  1. หรือ

คำอนุภาค[แก้ไข]

วา

  1. หรือ (ซึ่งปรากฏอยู่โดด ๆ ในคำฉันท์)

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

ภาษามลายูแบบปัตตานี[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

วา

  1. อีกรูปหนึ่งของ وا