จะ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- (เลิกใช้) จ่
รากศัพท์[แก้ไข]
เทียบภาษาลาว ຈະ (จะ), ຈັກ (จัก), ภาษาไทลื้อ ᦈᧅ (จัก).
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | จะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jà |
ราชบัณฑิตยสภา | cha | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕaʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำอนุภาค[แก้ไข]
จะ
- คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี จ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้น
- จะแจ้ง(กร่อนมาจาก แจ้งแจ้ง)
- จะแจ่ม(กร่อนมาจาก แจ่มแจ่ม)
- (คำกริยานุเคราะห์) เป็นคำช่วยกริยาบอกอนาคต
- จะไป
- จะอยู่
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
คำช่วยกริยาบอกอนาคต
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕa/
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
จะ (ต้องการถอดอักษร)
ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /caʔ/
คำนาม[แก้ไข]
จะ
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำอนุภาคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยานุเคราะห์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาคำเมือง
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- Requests for transliteration of ภาษาคำเมือง terms
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำนามภาษาเลอเวือะตะวันออก