จ
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (พยัญชนะต้น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕ-/
- (พยัญชนะสะกด) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /-t̚/
ตัวอักษร
[แก้ไข]จ
- พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /t͡ɕ/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /c/, /ç/, /t͡ʃ/, /d͡ʒ/, /d͡ʑ/
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | จอ | จอ-จาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jɔɔ | jɔɔ-jaan |
ราชบัณฑิตยสภา | cho | cho-chan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕɔː˧/(สัมผัส) | /t͡ɕɔː˧.t͡ɕaːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | จ. จอ |
ตัวอักษร
[แก้ไข]จ
- พยัญชนะตัวที่ 8 เรียกว่า จ จาน เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาสันสกฤต च (จ)
คำสันธาน
[แก้ไข]จ
คำอนุภาค
[แก้ไข]จ
หมวดหมู่:
- บล็อก Thai
- อักขระอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาร่วมที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาร่วม
- ตัวอักษรภาษาร่วม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- ตัวอักษรภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- คำหลักภาษาบาลี
- คำสันธานภาษาบาลี
- คำอนุภาคภาษาบาลี