จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+0E09, ฉ
THAI CHARACTER CHO CHING

[U+0E08]
Thai
[U+0E0A]
ดูเพิ่ม: ฉ. และ ฉี่

ภาษาร่วม[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /t͡ɕʰ/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /cʰ/

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (รหัสมอร์ส) ----
  • (อักษรเบรลล์)
  • (ภาษามือ) CH (เทียบเท่า ASL: CH)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ฉอฉอ-ฉิ่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔ̌ɔchɔ̌ɔ-chìng
ราชบัณฑิตยสภาchocho-ching
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˩˩˦/(สัมผัส)/t͡ɕʰɔː˩˩˦.t͡ɕʰiŋ˨˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงฉ.

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะตัวที่ 9 เรียกว่าฉิ่ง เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

จากภาษาบาลี

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ฉอช่อ[เสียงสมาส]
ฉะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔ̌ɔchɔ̂ɔchà-
ราชบัณฑิตยสภาchochocha-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˩˩˦/(สัมผัส)/t͡ɕʰɔː˥˩/(สัมผัส)/t͡ɕʰa˨˩./
คำพ้องเสียงฉ.ฉ้อ
ช่อ

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

  1. หก (จำนวน), สำหรับประกอบหน้าศัพท์อื่น

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

เลข[แก้ไข]

  1. หก (จำนวน)

การผันรูป[แก้ไข]

ไม่จำเป็นต้องผันรูปก็ได้