หลัง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หฺลัง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lǎng |
ราชบัณฑิตยสภา | lang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /laŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩖᩢᨦ (หลัง), ภาษาลาว ຫຼັງ (หลัง), ภาษาไทลื้อ ᦜᧂ (หฺลัง), ภาษาไทดำ ꪨꪰꪉ (หฺลัง), ภาษาไทใหญ่ လင် (ลัง), ภาษาอ่ายตน လင် (ลง์), ภาษาอาหม 𑜎𑜂𑜫 (ลง์), ภาษาปู้อี langl, ภาษาจ้วง laeng
คำนาม[แก้ไข]
หลัง
- ซีกของกายที่ตรงข้ามกับหน้าอก
- ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับด้านหน้าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
- ส่วนเบื้องบน
- หลังมือ
- หลังเท้า
คำบุพบท[แก้ไข]
หลัง
- อยู่ตรงข้ามกับข้างหน้า
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หลัง
คำลักษณนาม[แก้ไข]
หลัง
คำตรงข้าม[แก้ไข]
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
หลัง
- (ล้าสมัย) หลง
- บ้าหลัง
- เป็นบ้าเป็นหลัง
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ภาษาไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำบุพบทภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยล้าสมัย
- ภาษาไทย:กายวิภาคศาสตร์