หลง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʰloŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน หลง, ลาว ຫຼົງ (หล็ง), คำเมือง ᩉᩖᩫᨦ (หล็ง), เขิน ᩉᩖᩫᨦ (หล็ง), ไทลื้อ ᦜᦳᧂ (หฺลุง), ไทดำ ꪶꪨꪉ (โหฺลง), ไทใหญ่ လူင် (ลูง), ไทใต้คง ᥘᥨᥒᥴ (โล๋ง), จ้วง loeng, จ้วงแบบหนง loang
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺลง | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lǒng |
ราชบัณฑิตยสภา | long | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /loŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]หลง (คำอาการนาม การหลง)
- สำคัญผิด, เข้าใจผิด
- กาหลงเข้าใจว่าไข่นกดุเหว่าเป็นไข่ของตน
- หมกมุ่น, มัวเมา, คลั่งไคล้, เคลิบเคลิ้ม
- หลงในอบายมุข
- หลงเสน่ห์
- พลัด
- กาหลงเข้าไปในฝูงหงส์
- เข้าไปแล้วหาทางออกไม่ได้
- หลงป่า
- หลงทาง
- เหลืออยู่, ตกค้างอยู่
- มะม่วงหลง
- ฝนหลงฤดู
- มีความจำเลอะเลือน, สติเฟือนไป
- พอแก่ก็ชักจะหลงแล้ว
- เรียกเสียงที่แผดดังผิดปรกติ หรือเสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรีว่า เสียงหลง
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หลง (คำอาการนาม ความหลง)
- เลอะเลือน, จำได้บ้างไม่ได้บ้าง, ขี้หลงขี้ลืม ก็ว่า