จัก

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: จก, จั๊ก, จั๋ก, จิก, จิ๊ก, และ จีก

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (เลิกใช้) จกก (ทุกความหมาย)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์จัก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงjàk
ราชบัณฑิตยสภาchak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕak̚˨˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงจักร

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอาหม 𑜋𑜀𑜫 (ฉก์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง zaek (จัก, ผ่า)

คำกริยา[แก้ไข]

จัก (คำอาการนาม การจัก)

  1. ทำให้เป็นแฉก หรือหยักคล้ายฟันเลื่อย, เอาคมมีดผ่าไม้ไผ่หรือหวายให้แตกจากกันเป็นเส้นบาง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

จัก

  1. เป็นแฉก ๆ หรือหยัก ๆ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก), ภาษาคำเมือง ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก)

คำอนุภาค[แก้ไข]

จัก

  1. คำช่วยกริยาบอกกาลภายหน้า แสดงเจตจำนง
    จักกิน
    จักนอน

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก), ภาษาคำเมือง ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก), ภาษาอาหม 𑜋𑜀𑜫 (ฉก์)

คำกริยา[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาจ้วง caek (สัก-รู้ ทราบ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง zaek (จัก- รู้ ทราบ)

จัก (คำอาการนาม การจัก)

  1. รู้, ทราบ, แจ้ง, จำได้

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

จัก

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

จัก (คำอาการนาม ก๋ารจัก or ก๋านจัก)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

จัก (คำอาการนาม ก๋ารจัก or ก๋านจัก)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩢ᩠ᨠ (จัก)

ภาษาเลอเวือะตะวันตก[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม *tjaːk (กวางแซมบาร์)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

จัก

  1. กวาง

ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม *tjaːk (กวางแซมบาร์)

คำนาม[แก้ไข]

จัก

  1. กวาง

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

จัก

  1. (ตา) บอด