ฟัน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฟนน
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ฟัน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | fan |
ราชบัณฑิตยสภา | fan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /fan˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *vanᴬ (“ฟาดด้วยของมีคม”), จากภาษาไทดั้งเดิม *walᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຟັນ (ฟัน), ภาษาไทใหญ่ ၽၼ်း (ผั๊น) หรือ ၾၼ်း (ฝั๊น), ภาษาอาหม 𑜇𑜃𑜫 (ผน์) หรือ 𑜇𑜞𑜃𑜫 (ผฺรน์), ภาษาแสก วั๋น, ภาษาจ้วง faenz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง faenz
คำกริยา
[แก้ไข]ฟัน (คำอาการนาม การฟัน)
- เอาของมีคมเช่นดาบฟาดลงไป
- (ในเชิงเปรียบเทียบ) อาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น
- เอาสันมือฟันอิฐ
- (ภาษาปาก, สแลง) ร่วมเพศ
- อย่ามาคิดจะฟันกันง่าย ๆ
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *vanᴬ (“กระดูกในปาก”), จากภาษาไทดั้งเดิม *wanᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨼᩢ᩠ᨶ (ฟัน), ภาษาอาหม 𑜇𑜝𑜃𑜫 (ผฺลน์), ภาษาจ้วง faenz, ภาษาปู้อี fanz
คำนาม
[แก้ไข]ฟัน (คำลักษณนาม ซี่)
- กระดูกเป็นซี่ ๆ อยู่ในปากสำหรับกัด ฉีกเคี้ยวอาหาร
- (ในเชิงเปรียบเทียบ) สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- ฟันเลื่อย
- ฟันจักร
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:ฟัน
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/an
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/m
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ซี่
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทดำ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟรีเชียตะวันตก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- th:เพศ
- th:ฟัน