กวาง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *kwɯəŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨠ᩠ᩅᩣ᩠ᨦ (กวาง), ลาว ກວາງ (กวาง), ไทลื้อ ᦦᦱᧂ (กฺวาง), ไทดำ ꪀꪫꪱꪉ (กวาง), ไทขาว ꪀꪫꪱꪉ, ไทแดง ꪀꪫꪱꪉ, ไทใหญ่ ၵႂၢင် (กฺวาง), ไทใต้คง ᥐᥣᥒ (กาง), พ่าเก ကင် (กง์), อาหม 𑜀𑜤𑜨𑜂𑜫 (กุอ̂ง์), จ้วง gvang, จ้วงแบบหนง gvang
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กฺวาง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gwaang |
ราชบัณฑิตยสภา | kwang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kwaːŋ˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]กวาง
- ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดหนึ่ง, กวางป่า (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อปลางัวบางชนิด
คำพ้องความ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดหนึ่ง
ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]กวาง
อ้างอิง
[แก้ไข]- “กวาง” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 7
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- th:กวาง
- th:ปลา
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้