มิค
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี มิค (“กวาง”); เทียบภาษาสันสกฤต मृग (มฺฤค)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มิก | [เสียงสมาส] มิ-คะ- | [เสียงสมาส] มิก-คะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mík | mí-ká- | mík-ká- |
ราชบัณฑิตยสภา | mik | mi-kha- | mik-kha- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mik̚˦˥/(สัมผัส) | /mi˦˥.kʰa˦˥./ | /mik̚˦˥.kʰa˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]มิค
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]มิค ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "มิค" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | มิโค | มิคา |
กรรมการก (ทุติยา) | มิคํ | มิเค |
กรณการก (ตติยา) | มิเคน | มิเคหิ หรือ มิเคภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | มิคสฺส หรือ มิคาย หรือ มิคตฺถํ | มิคานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | มิคสฺมา หรือ มิคมฺหา หรือ มิคา | มิเคหิ หรือ มิเคภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | มิคสฺส | มิคานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | มิคสฺมิํ หรือ มิคมฺหิ หรือ มิเค | มิเคสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | มิค | มิคา |