ลิง
ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ลิง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ling |
ราชบัณฑิตยสภา | ling | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /liŋ˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ลิงค์ |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *liːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩃᩥ᩠ᨦ (ลิง), ภาษาลาว ລີງ (ลีง), ภาษาไทลื้อ ᦟᦲᧂ (ลีง), ภาษาไทใหญ่ လိင်း (ลิ๊ง), ภาษาเขิน ᩃᩥ᩠ᨦ (ลิง), ภาษาไทดำ ꪩꪲꪉ (ลิง), ภาษาอาหม 𑜎𑜢𑜂𑜫 (ลิง์), ภาษาปู้อี lingz, ภาษาจ้วง lingz, ภาษาแสก ลิ๊ง
คำนาม[แก้ไข]
ลิง (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดในอันดับ Primates ลักษณะคล้ายคน แขนขายาว ตีนหน้าและตีนหลังใช้จับเกาะได้ มีทั้งชนิดที่มีหางและชนิดที่ไม่มีหาง
- นางเกล็ด, ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Thynnichthys thynnoides ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวเพรียวแบนข้างเล็กน้อย ปากเล็กอยู่ปลายสุดของหัว ไม่มีหนวด เกล็ดเล็ก เฉพาะบนเส้นข้างตัวมี 58-65 เกล็ด พื้นลำตัวสีเงินเป็นประกาย พบทั่วไปแต่มีชุกชุมในเขตภาคกลางของประเทศไทย ขนาดยาวได้ถึง 25 เซนติเมตร
คำพ้องความ[แก้ไข]
- (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม): ดูที่ อรรถาภิธาน:ลิง
- (ปลาน้ำจืด): นางเกล็ด, เกล็ดถี่, พรม
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
Sense 1
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ลิง
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
ยืมมาจากภาษาอังกฤษ lingerie[1]
คำนาม[แก้ไข]
ลิง (คำลักษณนาม ตัว)
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
อ้างอิง[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (ไม่รู้จัก)
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ภาษาไทย:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- ภาษาไทย:ปลา