เกล็ด
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kletᴰ, จากภาษาไทดั้งเดิม *klecꟲ, จากภาษาจีนเก่า 介 (OC *kreːds, “เปลือก; ใส่เกราะ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩮᩢᨯ (กเลัด), ภาษาลาว ເກັດ (เกัด), ภาษาไทลื้อ ᦵᦂᧆ (เกด), ภาษาไทใหญ่ ၵဵတ်း (เก๊ต),ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gep, ภาษาจ้วง git
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เกฺล็ด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | glèt |
ราชบัณฑิตยสภา | klet | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /klet̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เกล็ด
- ส่วนที่เป็นแผ่น ๆ ซ้อนเหลื่อมกันห่อหุ้มตัวปลาและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด
- สิ่งที่แข็งตัวเป็นแผ่นบาง ๆ คล้ายเกล็ดปลา
- เกล็ดพิมเสน
- น้ำตาลขึ้นเกล็ด
- สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- บานเกล็ด
- ฝาเกล็ด
- เกล็ดเสื้อ
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]เกล็ด (คำอาการนาม การเกล็ด)
- ขบให้เมล็ดแตกเพื่อกินเนื้อใน ใช้แก่สิ่งที่เป็นเม็ดเล็ก ๆ
- เกล็ดเมล็ดแตงโม
- นกเกล็ดข้าว
- ตัดเอาแต่ที่ดี ๆ
- เกล็ดไพ่
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/et̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌็
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย