ข้ามไปเนื้อหา

ยู

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: , ยี, ยี่, ยี้, ยุ, ยู่, และ ยู้

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ยู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyuu
ราชบัณฑิตยสภาyu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/juː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɲuːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨿᩪ (ยู), ภาษาอีสาน ญู, ภาษาลาว ຍູ (ยู), ภาษาไทขาว ꪑꪴ, ภาษาไทใหญ่ ယူး (ยู๊)

คำนาม

[แก้ไข]

ยู

  1. (สุโขทัย) ไม้กวาด

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ u (ยู, ชื่อเรียกอักษร U)

คำนาม

[แก้ไข]

ยู

  1. ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน U/u
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ยู

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨿᩪ (ยู)

ภาษามลายูแบบปัตตานี

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ยู

  1. อีกรูปหนึ่งของ يو

ภาษาแสก

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ˀjuːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย อยู่, ภาษาคำเมือง ᩀᩪ᩵ (ยู่̱), ภาษาลาว ຢູ່ (อยู่), ภาษาไทลื้อ ᦊᦴᧈ (หฺยู่), ภาษาไทดำ ꪤꪴ꪿ (หฺยุ่), ภาษาไทใหญ่ ယူႇ (ยู่), ภาษาอาหม 𑜊𑜥 (ยู), ภาษาไทใต้คง ᥕᥧᥱ (ยู่), ภาษาปู้อี qyus, ภาษาจ้วง youq

คำกริยา

[แก้ไข]

ยู

  1. อยู่