ซี
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ซี | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sii |
ราชบัณฑิตยสภา | si | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /siː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำอนุภาค
[แก้ไข]ซี
- คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวยเป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวนหรือรับคำเป็นต้น, ซิ หรือ สิ ก็ว่า
- ไปซี
- มาซี
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากอังกฤษ cee (ซี, “ชื่อเรียกอักษร C”)
คำนาม
[แก้ไข]ซี
- ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน C/c
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน) ตัวอักษร; เอ, บี, ซี, ดี, อี, เอฟ, จี, เอช / เฮช, ไอ, เจ, เค, แอล, เอ็ม, เอ็น, โอ, พี, คิว, อาร์, เอส, ที, ยู, วี, ดับเบิลยู / ดับบลิว, เอกซ์ / เอ็กซ์, วาย, แซด / ซี
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]จากอังกฤษ/อังกฤษแบบอเมริกา zee (ซี, “ชื่อเรียกอักษร Z”)
คำนาม
[แก้ไข]ซี
- (พบได้ยาก) ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน Z/z
การใช้
[แก้ไข]ไม่นิยมใช้เพราะพ้องกับชื่ออักษร C (ซี)
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน) ตัวอักษร; เอ, บี, ซี, ดี, อี, เอฟ, จี, เอช / เฮช, ไอ, เจ, เค, แอล, เอ็ม, เอ็น, โอ, พี, คิว, อาร์, เอส, ที, ยู, วี, ดับเบิลยู / ดับบลิว, เอกซ์ / เอ็กซ์, วาย, แซด / ซี
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]ยืมมาจากอังกฤษ si (ซี, “โน้ตดนตรี ซี”)
คำนาม
[แก้ไข]ซี
การใช้
[แก้ไข]ไม่นิยมใช้เพราะพ้องกับสัญลักษณ์ C ของโน้ต โด เพื่อไม่ให้สับสนจึงใช้ ที
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (โน้ตดนตรีพื้นฐาน): โด, เร, มี, ฟา, ซอล, ลา, ที/ซี, ดับเบิลแฟลต, แฟลต, เนเชอรัล, ชาร์ป, ดับเบิลชาร์ป, ตัวกลม, ตัวขาว, ตัวดำ, ตัวเขบ็ต, ตัวหยุด, กุญแจซอล, กุญแจฟา, กุญแจโด, บันไดเสียง, เมเจอร์, ไมเนอร์, คอร์ด
ภาษาเขมรเหนือ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /siː/
คำกริยา
[แก้ไข]ซี
ภาษาชอง
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากProto-Pearic *psiː
การออกเสียง
[แก้ไข]- (จันทบุรี) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /siː/
คำนาม
[แก้ไข]ซี
คำพ้องความ
[แก้ไข]ภาษาทะวืง
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากเวียตติกดั้งเดิม *siː, จากมอญ-เขมรดั้งเดิม *sii(ʔ); ร่วมเชื้อสายกับเวียดนาม tay
คำนาม
[แก้ไข]ซี
ภาษาแสก
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากจีนยุคกลาง 四 (MC sijH), จากซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับไทย สี่, คำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ลาว ສີ່ (สี่), ไทลื้อ ᦉᦲᧈ (สี่), ไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ไทใหญ่ သီႇ (สี่), ไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), อาหม 𑜏𑜣 (สี), ปู้อี sis, จ้วง seiq
เลข
[แก้ไข]ซี
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับลาว ຊີ (ซี), ไทลื้อ ᦋᦲ (ชี)
คำกริยา
[แก้ไข]ซี (คำอาการนาม การซี)
คำนาม
[แก้ไข]ซี
- เครื่องมือสำหรับเจาะ
ภาษาอูรักลาโวยจ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /si/, [si]
คำนาม
[แก้ไข]ซี
- (บ้านสังกาอู้) สี
คำพ้องความ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำอนุภาคภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- คำนามภาษาไทย
- th:ชื่อตัวอักษรละติน
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษแบบอเมริกา
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยพบได้ยาก
- th:ดนตรี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ไม่ควรใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขมรเหนือ
- คำกริยาภาษาเขมรเหนือ
- ศัพท์ภาษาชองที่สืบทอดจากภาษาProto-Pearic
- ศัพท์ภาษาชองที่รับมาจากภาษาProto-Pearic
- ศัพท์ภาษาชองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาชอง
- คำนามภาษาชอง
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่สืบทอดจากภาษาเวียตติกดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่รับมาจากภาษาเวียตติกดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- คำหลักภาษาทะวืง
- คำนามภาษาทะวืง
- ศัพท์ภาษาแสกที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม
- คำหลักภาษาแสก
- เลขภาษาแสก
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน
- ศัพท์ภาษาอูรักลาโวยจที่ยืมมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาอูรักลาโวยจที่รับมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาอูรักลาโวยจที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาอูรักลาโวยจ
- คำนามภาษาอูรักลาโวยจ