ข้ามไปเนื้อหา

สี

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: , ส., สิ, สี่, สุ, สู, สู่, และ สู้

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์สี
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǐi
ราชบัณฑิตยสภาsi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/siː˩˩˦/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงศรี
สีห์

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siːᴬ¹ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩈᩦ (สี), ลาว ສີ (สี), ไทลื้อ ᦉᦲ (สี), ไทดำ ꪎꪲ (สิ), ไทใหญ่ သီ (สี), ไทใต้คง ᥔᥤᥴ (สี๋), พ่าเก ꩬီ (สี), อาหม 𑜏𑜣 (สี)

คำนาม

[แก้ไข]

สี

  1. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง

คำกริยา

[แก้ไข]

สี (คำอาการนาม การสี)

  1. (โบราณ) ครู่, รู่
  2. ครูด, ถู
    ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้
    ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน
  3. ชัก
    สีซอ
  4. ทำให้เปลือกออกด้วยเครื่องอย่างสีข้าว

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

เป็นไปได้ว่ามาจากจีนยุคกลาง (MC srik) ซึ่ง /-k/ หายไป; ร่วมเชื้อสายกับลาว ສີ (สี), ไทลื้อ ᦉᦲ (สี), ไทใหญ่ သီ (สี), คำเมือง ᩈᩦ (สี)

คำนาม

[แก้ไข]

สี

  1. ลักษณะของแสงสว่าง ปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็นขาว ดำ แดง เขียว เป็นต้น
  2. สิ่งที่ทำให้ตาเห็นเป็น ขาว ดำ แดง เขียว เป็นต้น
    สีทาบ้าน
    สีย้อมผ้า
    สีวาดภาพ
คำพ้องความ
[แก้ไข]
ลูกคำ
[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]
คำสืบทอด
[แก้ไข]
  • เขมร: ស៊ី (ส̰ี)
  • อูรักลาโวยจ: ซี

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

สี

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩦ (สี)

คำกริยา

[แก้ไข]

สี (คำอาการนาม ก๋ารสี หรือ ก๋านสี)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩦ (สี)