ꩬီ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาคำตี้[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC sijH), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ภาษาลาว ສີ່ (สี่), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧈ (สี่), ภาษาไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ภาษาไทใหญ่ သီႇ (สี่), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี)

เลข[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (transliteration needed)

  1. สี่

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำสันธาน[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (transliteration needed)

  1. แต่

ภาษาไทแหล่ง[แก้ไข]

เลข[แก้ไข]

ꩬီ (transliteration needed)

  1. สี่

ภาษาพ่าเก[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC sijH), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ภาษาลาว ສີ່ (สี่), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧈ (สี่), ภาษาไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ภาษาไทใหญ่ သီႇ (สี่), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี)

การออกเสียง[แก้ไข]

เลข[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (สี)

  1. สี่

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siːꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ซี่, ภาษาเขิน ᩈᩦ᩶ (สี้), ภาษาไทดำ ꪏꪲ꪿ (ซิ่), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧉ (สี้), ภาษาไทใหญ่ သီႈ (สี้), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥲ (สี้), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (สี)

  1. ซี่ (ของหวีเป็นต้น)

คำลักษณนาม[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (สี)

  1. ซี่, ใช้กับฟันหรือสิ่งอื่นที่คล้ายกัน

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສີ (สี), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲ (สี), ภาษาไทดำ ꪎꪲ (สิ), ภาษาไทใหญ่ သီ (สี), ภาษาพ่าเก ꩬီ (สี), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี), ภาษาจ้วง cae, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง cae

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (สี)

  1. สี, ขัด, ถู

ภาษาอ่ายตน[แก้ไข]

เลข[แก้ไข]

ꩬ︀ီ (สี)

  1. สี่