သီ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษากะเหรี่ยงปะโอ[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษากะเหรี่ยงดั้งเดิม *sejᴬ (ตายแล้ว, ตาย) (Luangthongkum, 2019) หรือ *si⁴ (idem) (Burling, 1969), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *səj; ร่วมเชื้อสายกับภาษากะเหรี่ยงสะกอ သံ (สี), ภาษากะเหรี่ยงโปตะวันตก ၥံၫ (theȳ), ภาษากะยาตะวันตก ꤞꤛꤢꤩ꤭ (ษเย³)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

သီ (transliteration needed)

  1. ตายแล้ว

คำกริยา[แก้ไข]

သီ (transliteration needed)

  1. ตาย

ภาษาไทใหญ่[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siːᴬ¹ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สี, ภาษาคำเมือง ᩈᩦ (สี), ภาษาลาว ສີ (สี), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲ (สี), ภาษาไทดำ ꪎꪲ (สิ), ภาษาไทใหญ่ သီ (สี), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥴ (สี๋), ภาษาพ่าเก ꩬီ (สี), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี)

คำกริยา[แก้ไข]

သီ (สี) (คำอาการนาม လွင်ႈသီ)

  1. สี, ครูด, ถู

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สี, ภาษาลาว ສີ (สี), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲ (สี)

คำนาม[แก้ไข]

သီ (สี)

  1. สี (ขาว ดำ แดง เขียว ฯลฯ)