သီႇ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: သ, သိ, သို့, သီ, သီး, သီႈ, သုံး, သူ, သူး, သူႇ, သူႈ, သံ, သႆ, သႆႈ, သႆႉ, ၥိၪ, ၥိၫ, ၥံၪ့, ၥံၫ, ၥ့ၪ, ႀ, ꩬီ, ꩬူ, และ ꩬံ
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 四 (MC sijH), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สี่, ภาษาคำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ภาษาลาว ສີ່ (สี่), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧈ (สี่), ภาษาไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี), ภาษาปู้อี sis, ภาษาจ้วง seiq
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sʰiː˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ส่ี
เสียง: (file) - สัมผัส: -iː
เลข
[แก้ไข]သီႇ • (สี่)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีลิงก์เสียง
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/iː
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- เลขภาษาไทใหญ่