คือ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: คอ, คือํ, ค่อ, และ ค้อ

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากเขมรเก่าสมัยอังกอร์ gi หรือ หรือเขมรเก่าสมัยก่อนอังกอร์ gi, gui หรือ guī; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน คือ, ภาษาลาว ຄື (คื), ภาษาคำเมือง ᨣᩨ (คื), ภาษาไทดำ ꪅꪳ (ฅึ), ภาษาเขมร គឺ (คื)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์คือ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkʉʉ
ราชบัณฑิตยสภาkhue
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰɯː˧/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

คือ

  1. เป็น
    โลกคือดาวดวงหนึ่ง

คำสันธาน[แก้ไข]

คือ

  1. เท่ากับ, ได้แก่
    ธาตุทั้งสี่คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ

ภาษาญัฮกุร[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

คือ

  1. เป็น, คือ
  2. กลายเป็น