จักจั่น
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับอีสาน จักจั่น, ลาว ຈັກຈັ່ນ (จักจั่น), คำเมือง ᨧᩢ᩠ᨠᨧᩢ᩠᩵ᨶ (จักจั่น), ไทดำ ꪊꪰꪀꪊ꪿ꪽ (จักจั่น)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | จัก-กะ-จั่น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jàk-gà-jàn |
ราชบัณฑิตยสภา | chak-ka-chan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕak̚˨˩.ka˨˩.t͡ɕan˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]จักจั่น (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อแมลงในวงศ์ Cicadidae ลำตัวยาวตั้งแต่ 2-10 เซนติเมตร หัวและอกกว้าง ปีกมี 2 คู่ เนื้อปีกส่วนใหญ่ใสเหมือนกันทั้ง 2 คู่ เมื่อเกาะอยู่กับที่ปีกพับเป็นรูปหลังคาคลุมตัว มีปากชนิดเจาะดูด ตาโตเห็นได้ชัด เพศผู้มีอวัยวะทำเสียงอยู่ทางด้านล่างของส่วนท้องได้ยินไปไกล ส่วนใหญ่ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ที่พบบ่อยเป็นชนิด Dundubia intermerata Walker
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ชื่อแมลงในวงศ์ Cicadidae
|
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/an
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใต้คง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาลาว
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาลาว/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+