มุสา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี มุสา; เทียบภาษาสันสกฤต मृषा (มฺฤษา); ร่วมรากกับ มฤษา
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มุ-สา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mú-sǎa |
ราชบัณฑิตยสภา | mu-sa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mu˦˥.saː˩˩˦/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]มุสา (คำอาการนาม ความมุสา)
- (ภาษาหนังสือ) เท็จ, ปด
คำกริยา
[แก้ไข]มุสา (คำอาการนาม การมุสา)
- (ภาษาหนังสือ) พูดเท็จ, พูดปด
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาสันสกฤต मृषा (มฺฤษา)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]มุสา
นิบาต
[แก้ไข]มุสา
- เท็จ
indeclinable
[แก้ไข]มุสา
- ไม่จริง
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- คำหลักภาษาบาลี
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาบาลี
- นิบาตภาษาบาลี
- indeclinableภาษาบาลี