เก๊ก
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เกก
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาฮกเกี้ยน 革/革 (kek) หรือภาษาแต้จิ๋ว 革/革 (gêg4)[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | เก็๊ก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gék |
ราชบัณฑิตยสภา | kek | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kek̚˦˥/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เก๊ก (คำอาการนาม การเก๊ก หรือ ความเก๊ก)
- (ภาษาปาก, สแลง, ล้าสมัย) ขับไล่
- (ภาษาปาก, สแลง) วางท่า, วางมาด[2]
- ปรกติก็เห็นวางมาดหล่อ แต่พอเมาเข้าไปก็ลืมเก๊ก
คำประสม
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Notes on Modern Chinese Loanwords in Thai
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 14.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาฮกเกี้ยน
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาฮกเกี้ยน
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาแต้จิ๋ว
- สัมผัส:ภาษาไทย/ek̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌๊
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ล้าสมัย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้