เอกกฺขตฺตุํ
หน้าตา
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) ekakkhattuṃ
- (อักษรพราหมี) 𑀏𑀓𑀓𑁆𑀔𑀢𑁆𑀢𑀼𑀁 (เอกกฺขตฺตุํ)
- (อักษรเทวนาครี) एकक्खत्तुं (เอกกฺขตฺตุํ)
- (อักษรเบงกอล) একক্খত্তুং (เอกกฺขตฺตุํ)
- (อักษรสิงหล) එකක්ඛත්තුං (เอกก₊ฺขต₊ฺตุํ)
- (อักษรพม่า) ဧကက္ခတ္တုံ (เอกกฺขตฺตุํ) หรือ ဨကက္ခတ္တုံ (เอกกฺขตฺตุํ) หรือ ဢေၵၵ္ၶတ္တုံ (เอกกฺขตฺตุํ) หรือ ဢေၵၵ်ၶတ်တုံ (เอกก์ขต์ตุํ)
- (อักษรไทย) เอกักขัตตุง
- (อักษรไทธรรม) ᩑᨠᨠ᩠ᨡᨲ᩠ᨲᩩᩴ (เอกกฺขตฺตุํ)
- (อักษรลาว) ເອກກ຺ຂຕ຺ຕຸໍ (เอกกฺขตฺตุํ) หรือ ເອກັກຂັຕຕຸງ (เอกักขัตตุง)
- (อักษรเขมร) ឯកក្ខត្តុំ (เอกกฺขตฺตุํ)
- (อักษรจักมา)
รากศัพท์
[แก้ไข]เอก + กฺขตฺตุํ (“แทนศัพท์ วาร, อัพยย”); เอกกฺขตฺตุํ เป็นอัพยยตัทธิต หรือ วารตัทธิต
คำอนุภาค
[แก้ไข]เอกกฺขตฺตุํ
- หนึ่งครั้ง
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]เอกกฺขตฺตุํ
- (adverbial number) หนึ่งครั้ง