แม่แบบ:คำอ่านไทย
หน้าตา
เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: {{{1}}}
- The following documentation is located at แม่แบบ:คำอ่านไทย/documentation. [edit]
- Useful links: subpage list • links • redirects • transclusions • errors (parser/module) • sandbox
การใช้
[แก้ไข]วิธีใช้: {{คำอ่านไทย|คำอ่าน 1|[คำอ่าน 2]|[คำอ่าน 3]|[คำอ่าน 4]|[คำอ่าน 5]|[คำอ่าน 6]}}
- ใช้ได้ในบทความทุกภาษาทุกคำ (ยกเว้นภาษาไทย)
- ข้อมูลที่กรอกมักจะเป็นคำอ่านภาษาไทยแบบตรงตัว (คือใช้มาตราตัวสะกดพื้น เช่น กาญจน์ ให้เขียนคำอ่านว่า กาน)
- ส่วนในภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาไทย กรณีคำนั้น ๆ มีการออกเสียงลงท้าย อนุโลมให้ใช้ตัวการันต์เพื่อแสดงเสียงลงท้าย เช่น mix อ่านว่า มิกซ์ (ลงเสียงท้าย ซ) เป็นต้น
- นอกจากนี้ต้องมีการแบ่งพยางค์ หากคำนั้นมีพยางค์มากกว่า 1 พยางค์ โดยมีเครื่องหมาย - คั่นกลางระหว่างพยางค์ เช่น รถยนต์ เขียนคำอ่านเป็น รด-ยน, โรงพยาบาล เขียนคำอ่านเป็น โรง-พะ-ยา-บาน, manner เขียนคำอ่านเป็น แมน-เน่อร์
- แต่หากคำใดมีการออกเสียงกึ่งพยางค์ ให้เขียนคำอ่านติดกันเลย ไม่ต้องใช้เครื่องหมาย - เช่น stubborn ให้เขียนเป็น สตั๊บ-บอร์น ไม่ใช่ สะ-ตั๊บ-บอร์น, Stunden ให้เขียนเป็น ชทุน-เด้น ไม่ใช่ ชะ-ทุน-เด้น เป็นต้น
- นำแม่แบบนี้ไปวางในส่วน การออกเสียง ในบทความ