โคร่ง
หน้าตา
ดูเพิ่ม: โครง
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาเขมรเก่า ក្រោង៑ (กฺโรงฺ), ក្រង៑ (กฺรงฺ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร គ្រោង (คฺโรง), ภาษาลาว ໂຄ່ງ (โค่ง); เทียบภาษาอาหม 𑜁𑜤𑜂𑜫 (ขุง์)
Jonsson (1991) ได้แนะนำว่ามาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɡrɔŋᴮ⁴ (“ใหญ่”) แต่ภาษาในกลุ่มส่วนมากไม่มีคำศัพท์
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โคฺร่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | krôong |
ราชบัณฑิตยสภา | khrong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰroːŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]โคร่ง (คำอาการนาม ความโคร่ง)