โวทาน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โว-ทาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | woo-taan |
ราชบัณฑิตยสภา | wo-than | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /woː˧.tʰaːn˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]โวทาน
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) vodāna
- (อักษรพราหมี) 𑀯𑁄𑀤𑀸𑀦 (โวทาน)
- (อักษรเทวนาครี) वोदान (โวทาน)
- (อักษรเบงกอล) ৰোদান (โวทาน)
- (อักษรสิงหล) වොදාන (โวทาน)
- (อักษรพม่า) ဝေါဒါန (โวทาน) หรือ ဝေႃၻႃၼ (โวทาน)
- (อักษรไทย) โวทานะ
- (อักษรไทธรรม) ᩅᩮᩤᨴᩤᨶ (โวทาน)
- (อักษรลาว) ໂວທານ (โวทาน) หรือ ໂວທານະ (โวทานะ)
- (อักษรเขมร) វោទាន (โวทาน)
- (อักษรจักมา)
คำนาม
[แก้ไข]โวทาน ก.
- ความบริสุทธิ์, ความผ่องแผ้ว
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "โวทาน" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | โวทานํ | โวทานานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | โวทานํ | โวทานานิ |
กรณการก (ตติยา) | โวทาเนน | โวทาเนหิ หรือ โวทาเนภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | โวทานสฺส หรือ โวทานาย หรือ โวทานตฺถํ | โวทานานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | โวทานสฺมา หรือ โวทานมฺหา หรือ โวทานา | โวทาเนหิ หรือ โวทาเนภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | โวทานสฺส | โวทานานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | โวทานสฺมิํ หรือ โวทานมฺหิ หรือ โวทาเน | โวทาเนสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | โวทาน | โวทานานิ |