ໜວກ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ล้าสมัย) ຫນວກ (หนวก)
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnuəkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หนวก, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶ᩠ᩅᨠ (หนวก), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨶ᩠ᩅᨠ (หนวก), ภาษาไทลื้อ ᦷᦐᧅᧈ (โหฺน่ก), ภาษาไทดำ ꪘꪺꪀ (หฺนัวก), ภาษาไทขาว ꪘꪺꪀ, ภาษาไทใหญ่ ၼူၵ်ႇ (นู่ก), ภาษาอาหม 𑜃𑜤𑜀𑜫 (นุก์), ภาษาจ้วง nuk, ภาษาจ้วงแบบหนง nog, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง nuek
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [nuːə̯k̚˧˩]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [nuːə̯k̚˥˥˨]
- การแบ่งพยางค์: ໜວກ
- สัมผัส: -uːə̯k̚
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ໜວກ • (หนวก) (คำอาการนาม ຄວາມໜວກ)
ลูกคำ
[แก้ไข]หนวก