ᥐᥩᥒ
หน้าตา
ภาษาไทใต้คง
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kloːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກອງ (กอง), ภาษาอีสาน กลอง, ภาษาคำเมือง ᨠᩖᩬᨦ (กลอง), ภาษาเขิน ᨠᩬᨦ (กอง), ภาษาไทลื้อ ᦂᦸᧂ (กอ̂ง), ภาษาไทใหญ่ ၵွင် (กอ̂ง), ภาษาอาหม 𑜀𑜨𑜂𑜫 (กอ̂ง์), ภาษาจ้วง gyong; เทียบภาษาเวียดนาม trống
คำนาม
[แก้ไข]ᥐᥩᥒ (กอ̂ง) (อักขรวิธี 1963 ᥐᥩᥒ)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *koːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກອງ (กอง), ภาษาอีสาน กอง, ภาษาคำเมือง ᨠᩬᨦ (กอง), ภาษาเขิน ᨠᩬᨦ (กอง), ภาษาไทลื้อ ᦂᦸᧂ (กอ̂ง), ภาษาไทดำ ꪀꪮꪉ (กอง), ภาษาไทใหญ่ ၵွင် (กอ̂ง), ภาษาอาหม 𑜀𑜨𑜂𑜫 (กอ̂ง์), ภาษาจ้วง gong, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง goeng
คำนาม
[แก้ไข]ᥐᥩᥒ (กอ̂ง) (อักขรวิธี 1963 ᥐᥩᥒ)
- กอง (สิ่งที่สุมรวมกัน)