ᦶᦠᧃ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hɛn˥/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย แหน, ลาว ແຫນ (แหน), คำเมือง ᩉᩯ᩠ᨶ (แหน), เขิน ᩉᩯ᩠ᨶ (แหน)
คำกริยา
[แก้ไข]ᦶᦠᧃ (แหน) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦶᦠᧃ)
ลูกคำ
[แก้ไข]แหน, เฝ้า, หวง
- ᦂᦱᧃᦝᦱᧂᧉᦶᦠᧃ (กานฟ้างแหน)
- ᦚᧁᧉᦶᦠᧃ (เฝ้าแหน)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦝᦱᧂᧉᦶᦠᧃ (ฟ้างแหน)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย แหงน, ลาว ແຫນ (แหน) หรือ ແຫງນ (แหงน), คำเมือง ᩉ᩠ᨦᩯᩁ (หแงร), เขิน ᩉ᩠ᨦᩯᩁ (หแงร), ไทใหญ่ ႁႅၼ် (แหน)
คำกริยา
[แก้ไข]ᦶᦠᧃ (แหน) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦶᦠᧃ)
ลูกคำ
[แก้ไข]แหงน
- ᦎᦳᧇᧈᦖᦱᦶᦠᧃ (ตุ่บหฺมาแหน)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]อ่านผิดมาจาก ᦶᦐ (แหฺน) ซึ่งเมื่อเขียนด้วยอักษรธรรมจะสะกดคล้ายกันคือ ᩉ᩠ᨶᩯ (หแน) (ห-น-แอ) / ᩉᩯ᩠ᨶ (แหน) (ห-แอ-น)
คำนาม
[แก้ไข]ᦶᦠᧃ (แหน)
- แหน (ไม้น้ำ)