ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ
หน้าตา
ภาษาเขิน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 動 (MC duwngX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท้วง, ภาษาลาว ທ້ວງ (ท้วง), ภาษาคำเมือง ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦑᧂᧉ (โท้ง), ภาษาไทใหญ่ တူင်ႉ (ตู๎ง)
คำกริยา
[แก้ไข]ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ)
- (อกรรม) ขยับ, ไหวติง, ขยับเขยื้อน
คำนาม
[แก้ไข]ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 動 (MC duwngX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท้วง, ภาษาลาว ທ້ວງ (ท้วง), ภาษาเขิน ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦑᧂᧉ (โท้ง), ภาษาไทใหญ่ တူင်ႉ (ตู๎ง)
การออกเสียง
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ (ทว้ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨴ᩠ᩅ᩶ᨦ)
- (อกรรม) ขยับ, ไหวติง, ขยับเขยื้อน