gentrification

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาฝรั่งเศส[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

  • (file)

คำนาม[แก้ไข]

gentrification ญ. (พหูพจน์ gentrifications)

  1. การปรับพื้นที่, การดัดแปลงพื้นที่ เพื่อประโยชน์ของชนชั้นทางสังคมที่สูงขึ้น
    คำจ่ากลุ่ม: embourgeoisement

ภาษาอังกฤษ[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จาก gentry +‎ -ification, ตามแบบอย่าง gentrify บัญญัติโดย Ruth Glass นักสังคมวิทยาชาวอังกฤษที่เกิดในเยอรมนี ในปี ค.ศ. 1964[1]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

gentrification (นับได้และนับไม่ได้, พหูพจน์ gentrifications)

  1. (เมืองศึกษา) การปรับพื้นที่, การดัดแปลงพื้นที่ เพื่อประโยชน์ของชนชั้นทางสังคมที่สูงขึ้น; กระบวนการฟื้นฟูและการสร้างใหม่ในพื้นที่เสื่อมโทรมซึ่งมาพร้อมกับการหลั่งไหลเข้ามาของชนชั้นกลางหรือผู้มีฐานะร่ำรวย โดยมักจะตามหลังการย้ายออกของผู้อยู่อาศัยก่อนหน้าซึ่งยากจนกว่า; ตัวอย่างของกระบวนการดังกล่าว
    • 1973 เมษายน 8, Bugler, Jeremy, “Tomorrow's London”, in The Observer, London, retrieved 2016-09-12, page 13:
      Labour's manifesto contains the wild promise of 'war on the private landlord,' but this may conceal a real determination to use the powers of compulsory purchase to prevent the existing residents of places like North Kensington being driven out by the twin forces of 'gentrification' and development.
      แถลงการณ์ของผู้ใช้แรงงานมีคำมั่นที่ดุเดือดเกี่ยวกับ 'สงครามกับเจ้าของที่ดิน' แต่สิ่งนี้อาจปกปิดความตั้งใจจริงที่จะใช้อำนาจในการบังคับซื้อเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อยู่อาศัยที่อยู่ในบริเวณเช่น นอร์ทเคนซิงตัน ถูกขับไล่โดยกำลังร่วมสองฝ่ายของ 'การดัดแปลงพื้นที่' และการพัฒนา
    คำจ่ากลุ่ม: embourgeoisement

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

อ้างอิง[แก้ไข]

  1. Ruth Glass; University College, London. Centre for Urban Studies (1964) London: Aspects of Change (Centre for Urban Studies report; 3), London: MacGibbon & Kee, OCLC 1618199, page 18

อ่านเพิ่มเติม[แก้ไข]