neurodiversity

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาอังกฤษ[แก้ไข]

วิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia en

รากศัพท์[แก้ไข]

สัญลักษณ์อนันต์สีรุ้งแสดงถึงความหลากหลายของออทิสติกสเปกตรัม

จาก neuro- (อุปสรรคแสดงถึงระบบประสาท) +‎ diversity [1] บัญญัติโดย จูดี ซิงเกอร์ (Judy Singer) นักสังคมวิทยาชาวออสเตรเลีย ในวิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2541 และได้รับความนิยมจากบทความในนิตยสาร The Atlantic ฉบับเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 โดย ฮาร์วีย์ บลูม (Harvey Blume)[2]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

neurodiversity (โดยปกตินับไม่ได้, พหูพจน์ neurodiversities)

  1. ความหลากหลายขององค์ประกอบของสมอง โดยเฉพาะเกี่ยวกับโรคออทิสซึม
    คำพ้องความ: neuroatypicality, neurodivergence
    คำตรงข้าม: neurotypicality
    • 1998, Judy Singer, “What is the Autistic Spectrum?”, in Odd People In: The Birth of a Community amongst People on the ‘Autistic Spectrum’: A Personal Exploration Based on Neurological Diversity[2] (unpublished B.A. (Social Science) dissertation), Sydney, N.S.W.: Faculty of Humanities and Social Science, University of Technology Sydney, pages 13–14:
      For me, the significance of the "Autistic Spectrum" lies in its call for and anticipation of a "Politics of Neurodiversity". [] The rise of Neurodiversity takes postmodern fragmentation one step further.
      สำหรับฉันความสำคัญของ "ออทิสติกสเปกตรัม" อยู่ที่การเรียกร้องและการคาดหวังให้เกิด "การเมืองของความหลากหลายทางระบบประสาท" […] การเพิ่มขึ้นของความหลากหลายทางระบบประสาททำให้การแบ่งช่วงของยุคหลังสมัยใหม่ก้าวไปอีกขั้น
    • 1998 กันยายน, Harvey Blume, “Neurodiversity: On the Neurological Underpinnings of Geekdom”, in William Whitworth, editor, The Atlantic[3], Washington, D.C.: The Atlantic Monthly Group, ISSN 1072-7825, OCLC 936540106, archived from the original on 5 กุมภาพันธ์ 2023:
      Neurodiversity may be every bit as crucial for the human race as biodiversity is for life in general. Who can say what form of wiring will prove best at any given moment? Cybernetics and computer culture, for example, may favor a somewhat autistic cast of mind.
      ความหลากหลายทางระบบประสาทอาจมีความสำคัญต่อเผ่าพันธุ์มนุษย์พอ ๆ กับความหลากหลายทางชีวภาพที่สำคัญสำหรับชีวิตโดยทั่วไป ใครจะสามารถสรุปได้ว่ารูปแบบของการเชื่อมโยงระบบประสาทแบบใดที่ได้รับการพิสูจน์ว่าดีที่สุดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมไซเบอร์เนติกส์และคอมพิวเตอร์อาจสนับสนุนความคิดที่ค่อนข้างเป็นออทิสติก
    • 2021 ตุลาคม 14, Nancy Doyle, “Neurodiversity is Not a Pollyanna Concept: Judy Singer Says Get Realistic”, in Forbes[4], New York, N.Y.: Forbes, Inc., ISSN 0015-6914, OCLC 1088420850, archived from the original on 22 พฤศจิกายน 2021:
      The Neurodiversity movement is progressing towards an acceptance in mainstream business. Neurodiversity inclusion is increasingly likely to be present in EDI [equality, diversity, and inclusion] policies alongside gender, race and LGBTQIA+ in many leading industries (though I note that disability more broadly is lagging behind).
      ขบวนการความหลากหลายทางระบบประสาทกำลังก้าวไปสู่การยอมรับในธุรกิจกระแสหลัก การรวมความหลากหลายทางระบบประสาท ในนโยบาย EDI [ความเสมอภาค ความหลากหลาย และการรวมเข้าด้วยกัน] ในอุตสาหกรรมชั้นนำหลายแห่ง มีแนวโน้มที่จะมีมากขึ้นควบคู่ไปกับ เพศ เชื้อชาติ และ LGBTQIA+

หมายเหตุ[แก้ไข]

เกี่ยวกับคำจ่ากลุ่มดูที่ neuroatypical

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

อ้างอิง[แก้ไข]

  1. neurodiversity, n.”, in OED Online Paid subscription required, Oxford, Oxfordshire: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด, มีนาคม 2022; “neurodiversity, n.”, in Lexico, Dictionary.com; Oxford University Press, 2019–2022.
  2. Howard Timberlake (10 ตุลาคม 2019), chapter Why there is No Such Thing as a ‘Normal’ Brain, in BBC[1], archived from the original on 20 กุมภาพันธ์ 2023