มาก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *mlaːkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨾᩣ᩠ᨠ (มาก), ภาษาลาว ມາກ (มาก), ภาษาไทลื้อ ᦙᦱᧅ (มาก), ภาษาไทใหญ่ မၢၵ်ႈ (ม้าก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥐ (มาก), ภาษาพ่าเก မက် (มก์), ภาษาอาหม *𑜉𑜀𑜫 (*มก์) (ความหมายใกล้เคียง: มั่งมี)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มาก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mâak |
ราชบัณฑิตยสภา | mak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /maːk̚˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | มารค |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]มาก (คำอาการนาม ความมาก)
- หลาย, ตรงกันข้ามกับ น้อย
- คนมาก
- น้ำมาก
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]มาก (คำอาการนาม ความมาก)
- หลาย
- กินมาก
- พูดมาก
ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทดำ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+