หลาย
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หฺลาย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lǎai |
ราชบัณฑิตยสภา | lai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /laːj˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlaːjᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩖᩣ᩠ᨿ (หลาย), ภาษาอีสาน หลาย, ภาษาลาว ຫຼາຍ (หลาย̃), ภาษาไทลื้อ ᦜᦻ (หฺลาย), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ (หลาย), ภาษาไทใหญ่ လၢႆ (ลาย), ภาษาปู้อี laail, ภาษาจ้วง lai, ภาษาแสก หล่าย; เทียบภาษาจีนเก่า 多 (OC *ʔl'aːl)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
หลาย
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)
- มาก
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)
- มาก
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ภาษาไทย terms with redundant head parameter
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำคุณศัพท์ภาษาอีสาน
- ภาษาอีสาน terms with redundant head parameter
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาอีสาน