ใกล้
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *k.raɰꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩲ᩶ (กใล้) หรือ ᨠᩖᩱ᩶ (กไล้), ภาษาลาว ໃກ້ (ใก้) หรือ ໄກ້ (ไก้), ภาษาไทลื้อ ᦺᦂᧉ (ไก้), ภาษาไทใหญ่ ၵၢႆ (กาย), ภาษาอาหม 𑜀𑜧 (กว์) หรือ 𑜀𑜩 (กย์), ภาษาจ้วง gyawj, ภาษาปู้อี jaec
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ไกฺล้ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | glâi |
ราชบัณฑิตยสภา | klai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /klaj˥˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ใกล้ (คำอาการนาม ความใกล้)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ใกล้ (คำอาการนาม ความใกล้)
คำบุพบท
[แก้ไข]ใกล้
- เคียง, ไม่ห่าง
คำตรงข้าม
[แก้ไข]ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ใ
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- คำบุพบทภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเขิน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+