ᨧᩣᩴ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຈຳ (จำ), ภาษาคำเมือง ᨧᩣᩴ (จาํ), ภาษาไทลื้อ ᦈᧄ (จัม)

คำกริยา[แก้ไข]

ᨧᩣᩴ (จาํ) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨧᩣᩴ)

  1. ใช้, บังคับ, สั่ง
    คำพ้องความ: ᨩᩱ᩶ (ไช้), ᨷᩢ᩠ᨦᨤᩢ᩠ᨷ (บังฅับ), ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน จำ, ภาษาลาว ຈຳ (จำ), ภาษาไทลื้อ ᦈᧄ (จัม), ภาษาไทใหญ่ ၸမ် (จัม)

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ᨧᩣᩴ (จาํ) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨧᩣᩴ)

  1. ใกล้, จวน
    คำพ้องความ: ᨠᩱ᩶ (ไก้), ᨧ᩠ᩅᩁ (จวร)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย จำ, ภาษาอีสาน จำ, ภาษาลาว ຈຳ (จำ), ภาษาคำเมือง ᨧᩣᩴ (จาํ), ภาษาไทลื้อ ᦈᧄ (จัม)

คำกริยา[แก้ไข]

ᨧᩣᩴ (จาํ) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨧᩣᩴ)

  1. จำ (กำหนดไว้ในใจ)
    คำพ้องความ: ᩉ᩠ᨾᩣ᩠ᨿ (หมาย)

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຈຳ (จำ), ภาษาเขิน ᨧᩣᩴ (จาํ), ภาษาไทลื้อ ᦈᧄ (จัม)

คำกริยา[แก้ไข]

ᨧᩣᩴ (จาํ) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨧᩣᩴ)

  1. ใช้, บังคับ, สั่ง
    ᨧᩴᩣᨾᩢ᩠ᨶᨻᩱ
    จํามันไพ
    สั่งมันไป
    ᩈᩢ᩠᩵ᨦᨧᩴᩣ
    สั่งจํา
    สั่ง

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทลื้อ ᦈᧄ (จัม), ภาษาไทใหญ่ ၸမ် (จัม)

คำนาม[แก้ไข]

ᨧᩣᩴ (จาํ)

  1. อวน, แห

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย จำ, ภาษาอีสาน จำ, ภาษาลาว ຈຳ (จำ), ภาษาเขิน ᨧᩣᩴ (จาํ), ภาษาไทลื้อ ᦈᧄ (จัม)

คำกริยา[แก้ไข]

ᨧᩣᩴ (จาํ) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨧᩣᩴ)

  1. จำ (กำหนดไว้ในใจ)