แห

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: แห่

ภาษาไทย[แก้ไข]

แห (เครื่องจับปลา)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์แห
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhɛ̌ɛ
ราชบัณฑิตยสภาhae
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hɛː˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kreːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩯ (แห) หรือ ᩉᩕᩯ (หแร), ภาษาเขิน ᩉᩯ (แห), ภาษาลาว ແຫ (แห) หรือ ແຂ (แข), ภาษาไทลื้อ ᦶᦠ (แห), ภาษาไทดำ ꪵꪬ (แห), ภาษาไทใหญ่ ၶႄ (แข), ภาษาอาหม 𑜁𑜦𑜧 (เข), ภาษาจ้วง re, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง he

คำนาม[แก้ไข]

แห (คำลักษณนาม ปาก)

  1. ชื่อเครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอดแผ่ลงในน้ำแล้วค่อยดึงขึ้นมา
ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำอนุภาค[แก้ไข]

แห

  1. (ร้อยกรอง) ใช้เข้าคู่กับคำ ห่าง เป็น ห่างแห หรือ แหห่าง
    กระแหแหห่างชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม
    (เห่เรือ)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

แห

  1. กุ้งกะต่อม

ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาจ้วง he (ไม่เชื่อง)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

แห (คำอาการนาม ขว่ามแห)

  1. เปรียว, ไม่เชื่อง

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແຫ (แห), ภาษาปักษ์ใต้ แห, ภาษาเขิน ᩉᩯ (แห), ภาษาไทดำ ꪵꪬ (แห), ภาษาไทใหญ่ ႁႄ (แห)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

แห (คำอาการนาม ความแห)

  1. เปรียว, ไม่เชื่อง