ข้าว

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ขาว และ ข่าว

ภาษาไทย[แก้ไข]

ข้าวดิบ

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.qawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨡᩮᩢ᩶ᩣ (เขั้า), ภาษาปักษ์ใต้ ค้าว, ภาษาอีสาน เข่า หรือ เข้า, ภาษาปักษ์ใต้ ค้าว, ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทลื้อ ᦃᧁᧉ (เฃ้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาไทใต้คง ᥑᥝᥲ (เฃ้า), ภาษาพ่าเก ၵွ် (เขา), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์) หรือ 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์), ภาษาจ้วง kaeux/haeux, ภาษาแสก เกฺา

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ค่าว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkâao
ราชบัณฑิตยสภาkhao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰaːw˥˩/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

คำนาม[แก้ไข]

ข้าว

  1. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae โดยเฉพาะชนิด Oryza sativa L. เมล็ดเป็นอาหารหลัก มีหลายพันธุ์
    ข้าวเจ้า
    ข้าวเหนียว
  2. (ภาษาปาก) อาหาร
  3. (โบราณ) ขวบปี

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *xaːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขาว, ภาษาคำเมือง ᨡᩣ᩠ᩅ (ขาว), ภาษาลาว ຂາວ (ขาว), ภาษาไทลื้อ ᦃᦱᧁ (ฃาว), ภาษาไทดำ ꪄꪱꪫ (ฃาว), ภาษาไทใหญ่ ၶၢဝ် (ขาว), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥝᥴ (ฃ๋าว), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์) หรือ 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์), ภาษาจ้วง kau/hau, ภาษาปู้อี haaul, ภาษาแสก ห่าว

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ข้าว

  1. สีขาว

อ้างอิง[แก้ไข]

  • ข้าว” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 8

ภาษาญ้อ[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ข้าว

  1. ข้าว