พี
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | พี | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pii |
ราชบัณฑิตยสภา | phi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰiː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *bwiːᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 肥 (MC bj+j); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน พี, ภาษาลาว ພີ (พี), ภาษาคำเมือง ᨻᩦ (พี), ภาษาเขิน ᨻᩦ (พี), ภาษาไทลื้อ ᦗᦲ (พี), ภาษาไทดำ ꪝꪲ (ปิ̱), ภาษาไทขาว ꪝꪲ, ภาษาไทใหญ่ ပီး (ปี๊), ภาษาอาหม 𑜆𑜣 (ปี), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง piz, ภาษาจ้วง biz; ร่วมรากกับ ปุ๋ย
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]พี
- อ้วน, มักใช้เข้าคู่กับคำ อ้วน เป็น อ้วนพี
คำนาม
[แก้ไข]พี
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาอังกฤษ pee (พี, “ชื่อเรียกอักษร P”)
คำนาม
[แก้ไข]พี
- ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน P/p
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน) ตัวอักษร; เอ, บี, ซี, ดี, อี, เอฟ, จี, เอช / เฮช, ไอ, เจ, เค, แอล, เอ็ม, เอ็น, โอ, พี, คิว, อาร์, เอส, ที, ยู, วี, ดับเบิลยู / ดับบลิว, เอกซ์ / เอ็กซ์, วาย, แซด / ซี
ภาษากฺ๋อง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pʰi/
เลข
[แก้ไข]พี
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ล้าสมัย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- th:ชื่อตัวอักษรละติน
- ศัพท์ภาษากฺ๋องที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษากฺ๋อง
- เลขภาษากฺ๋อง