ลาก

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ลากี และ ลากฺี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *laːkᴰ²ᴸ, จากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.laːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ลาก, ภาษาลาว ລາກ (ลาก), ภาษาคำเมือง ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก), ภาษาเขิน ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก), ภาษาไทลื้อ ᦟᦱᧅ (ลาก), ภาษาไทดำ ꪩꪱꪀ (ลาก), ภาษาไทขาว ꪩꪱ, ภาษาไทใหญ่ လၢၵ်ႈ (ล้าก), ภาษาไทใต้คง ᥘᥣᥐ (ลาก), ภาษาอาหม 𑜎𑜀𑜫 (ลก์), ภาษาจ้วง rag, ภาษาจ้วงแบบหนง laeg, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lag

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ลาก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlâak
ราชบัณฑิตยสภาlak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/laːk̚˥˩/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

ลาก (คำอาการนาม การลาก)

  1. (สกรรม) ทำให้เคลื่อนที่ตามไปโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ดึง ฉุด ระไป ถูไป ล่ามไป โยงไป
    ลากเกวียน
    ม้าลากรถ
    กระโปรงยาวลากดิน
  2. (สกรรม) โดยปริยายหมายความว่า ใช้อย่างสมบุกสมบัน, ใช้ถูไถ
    เอาผ้าซิ่นไหมมานุ่งลากอยู่กับบ้าน

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ลาก

  1. ที่ทำให้เคลื่อนที่ตามไปโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ดึง ฉุด ระไป ถูไป ล่ามไป โยงไป
    รถลาก