เมือ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *mɯəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เมือ, ภาษาลาว ເມືອ (เมือ), ภาษาคำเมือง ᨾᩮᩬᩥᩋ (เมอิอ), ภาษาเขิน ᨾᩮᩬᩨ (เมอื), ภาษาไทลื้อ ᦵᦙᦲ (เมี), ภาษาไทดำ ꪹꪣ (เม), ภาษาไทใหญ่ မိူဝ်း (เมิ๊ว), ภาษาไทใต้คง ᥛᥫᥰ (เม๊อ̂), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mwez (เมือ), ภาษาจ้วง mwz

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เมือ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmʉʉa
ราชบัณฑิตยสภาmuea
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɯa̯˧/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

คำกริยา[แก้ไข]

เมือ

  1. (ล้าสมัย, อกรรม) ไป, กลับ

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

  • (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /mɯa˧˧/
  • (ส่วนใหญ่ในเชียงใหม่, ลำพูน, แม่ฮ่องสอน) คำอ่านภาษาไทย: เมือ
  • (ส่วนใหญ่ในเชียงราย, ลำปาง, พะเยา, แพร่, น่าน) คำอ่านภาษาไทย: เมอ

คำกริยา[แก้ไข]

เมือ (คำอาการนาม ก๋ารเมือ หรือ ก๋านเมือ)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩮᩬᩥᩋ (เมอิอ)
    เมื่อใดจะเมือบ้าน
    เมื่อไหร่จะกลับบ้าน

คำพ้องความ[แก้ไข]

กลับ

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

เมือ (คำอาการนาม การเมือ)

  1. กลับ