ເຫຼື້ອມ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ເຫລື້ອມ และ ເຫຼືອມ

ภาษาลาว[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰlɯəmꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เลื่อม, ภาษาคำเมือง ᩉᩖᩮᩬᩥ᩶ᨾ (หเลอิ้ม), ภาษาเขิน ᩉᩖᩮᩨ᩶ᨾ (หเลื้ม), ภาษาอีสาน เหลื้อม, ภาษาไทลื้อ ᦵᦜᦲᧄᧉ (เหฺลี้ม), ภาษาไทดำ ꪹꪨ꫁ꪣ (เหฺล้ม), ภาษาไทใหญ่ လိူမ်ႈ (เลิ้ม), ภาษาไทใต้คง ᥘᥫᥛᥲ (เล้อ̂ม), ภาษาอาหม 𑜎𑜢𑜤𑜉𑜫 (ลึม์)

คำกริยา[แก้ไข]

ເຫຼື້ອມ (เหลื้อม) (คำอาการนาม ການເຫຼື້ອມ)

  1. (อกรรม) แลบ, เป็นแสงแวบออกไป
    ມີຝົນຕົກຟ້າຮ້ອງ ຟ້າເຫຼື້ອມ, ໝາກເຫັບຕົກ ແລະ ມີລົມພັດແຮງ
    มีฝ็นต็กฟ้าฮ้อง ฟ้าเหลื้อม, หมากเหับต็ก และ มีล็มพัดแฮง
    มีฝนตกฟ้าร้อง ฟ้าแลบ, ลูกเห็บตก และ มีลมพัดแรง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ເຫຼື້ອມ (เหลื้อม) (คำอาการนาม ຄວາມເຫຼື້ອມ)

  1. เลื่อม, ซึ่งเป็นแสงสว่าง
คำประสม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เหลื้อม

คำนาม[แก้ไข]

ເຫຼື້ອມ (เหลื้อม)

  1. ไม้ชนิดหนึ่ง มีผลกลม ข้างในมีแก่น