การสืบสร้าง:ภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม/ʰmɔːkᴰᴸ¹
หน้าตา
ภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmoːkᴰ, จากภาษาจีนเก่า 霧 (OC *moɡs, *moːŋ); ร่วมเชื้อสายกับนอกกลุ่มไทตะวันตกเฉียงใต้: ภาษาจ้วง mok, ภาษาจ้วงแบบหนง moag, mog, ภาษาแสก ม̄อก
Pittayaporn (2008) ปรับปรุงจาก *hmɔkᴰᴸ¹ (Jonsson, 1991) และ *hmɔɔkᴰ¹ᴸ (Li, 1977); วรรณยุกต์ตามระบบ Gedney (1972)
คำนาม
[แก้ไข]*ʰmɔːkᴰᴸ¹
คำสืบทอด
[แก้ไข]- ไทย: หมอก
- คำเมือง: ᩉ᩠ᨾᩬᨠ (หมอก), หมอก
- เขิน: ᩉ᩠ᨾᩬᨠ (หมอก)
- อีสาน: หมอก
- ลาว: ໝອກ (หมอก), (ล้าสมัย) ຫມອກ (หมอก)
- ไทลื้อ: ᦖᦸᧅᧈ (หฺม่อ̂ก), ᩉ᩠ᨾᩬᨠ (หมอก)
- ไทดำ: ꪢꪮꪀ (หฺมอก)
- ไทใหญ่: မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก)
- ไทใต้คง: ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), (แบบเก่า) ᥛᥩᥐ̌ (ม่อ̂ก)
- ไทแหล่ง: မွက်
- ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:etymology/templates/descendant บรรทัดที่ 290: You specified a term in 4= and not one in 3=. You probably meant to use t= to specify a gloss instead. If you intended to specify two terms, put the second term in 3=.
- อาหม: 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์)