မွၵ်ႇ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: မွၵ်ႈ

ภาษาไทใหญ่[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓloːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอก, ภาษาคำเมือง ᨯᩬᨠ (ดอก), ภาษาลาว ດອກ (ดอก), ภาษาไทลื้อ ᦡᦸᧅᧈ (ด่อ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ꪒꪮꪀ (ดอก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาพ่าเก မွက် (มอ̂ก์), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์), 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์), ภาษาจ้วงแบบหนง ndog

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก)

  1. ดอก, ดอกไม้

คำกริยา[แก้ไข]

မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก) (คำอาการนาม လွင်ႈမွၵ်ႇ)

  1. ออกดอก

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บอก, ภาษาคำเมือง ᨷᩬᨠ (บอก), ภาษาลาว ບອກ (บอก), ภาษาไทลื้อ ᦢᦸᧅᧈ (บ่อ̂ก) หรือ ᦢᦸᧅ (บอ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาอาหม 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก) (คำอาการนาม လွင်ႈမွၵ်ႇ)

  1. บอก, ประกาศ
  2. เชิญชวน

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmɔːkᴰᴸ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmoːkᴰ, จากภาษาจีนเก่า (OC *moɡs, *moːŋ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมอก, ภาษาลาว ໝອກ (หมอก), ภาษาไทลื้อ ᦖᦸᧅᧈ (หฺม่อ̂ก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์), ภาษาจ้วง mok, ภาษาจ้วงแบบหนง moag หรือ mog, ภาษาแสก ม̄อก

คำนาม[แก้ไข]

မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก)

  1. หมอก

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *muuk ~ muək, จากภาษาจีนเก่า (OC *muːɡs); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมวก, ภาษาลาว ໝວກ (หมวก), ภาษาเขมร មួក (มัวก), ภาษามอญ ဒမှော် (ทมฺโห์)

คำนาม[แก้ไข]

မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก)

  1. หมวก