𑜈𑜨𑜀𑜫
หน้าตา
ภาษาอาหม
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓloːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอก, ภาษาคำเมือง ᨯᩬᨠ (ดอก), ภาษาลาว ດອກ (ดอก), ภาษาไทลื้อ ᦡᦸᧅᧈ (ด่อ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ꪒꪮꪀ (ดอก), ภาษาไทใหญ่ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก), ဝွၵ်ႇ (ว่อ̂ก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาพ่าเก မွက် (มอ̂ก์), ภาษาจ้วงแบบหนง ndog
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์)
คำนาม
[แก้ไข]𑜈𑜨𑜀𑜫 • (บอ̂ก์)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บอก, ภาษาคำเมือง ᨷᩬᨠ (บอก), ภาษาลาว ບອກ (บอก), ภาษาไทลื้อ ᦢᦸᧅᧈ (บ่อ̂ก) หรือ ᦢᦸᧅ (บอ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ภาษาไทใหญ่ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก) หรือ ဝွၵ်ႇ (ว่อ̂ก), ภาษาจ้วง mbok(แม่น้ำท่าขวา)
คำกริยา
[แก้ไข]𑜈𑜨𑜀𑜫 • (บอ̂ก์)