ဝွၵ်ႇ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ဝွၵ်ႈ
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /wɔk̚˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺว่อก
- สัมผัส: -ɔk̚
- หวอก
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓloːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอก, ภาษาคำเมือง ᨯᩬᨠ (ดอก), ภาษาลาว ດອກ (ดอก), ภาษาไทลื้อ ᦡᦸᧅᧈ (ด่อ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ꪒꪮꪀ (ดอก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาพ่าเก မွက် (มอ̂ก์), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์), 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์), ภาษาจ้วงแบบหนง ndog
คำนาม
[แก้ไข]ဝွၵ်ႇ • (ว่อ̂ก)
- (ถิ่นใต้) อีกรูปหนึ่งของ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก, “ดอก”)
คำกริยา
[แก้ไข]ဝွၵ်ႇ • (ว่อ̂ก) (คำอาการนาม လွင်ႈဝွၵ်ႇ)
- (ถิ่นใต้) อีกรูปหนึ่งของ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก, “ออกดอก”)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บอก, ภาษาคำเมือง ᨷᩬᨠ (บอก), ภาษาลาว ບອກ (บอก), ภาษาไทลื้อ ᦢᦸᧅᧈ (บ่อ̂ก) หรือ ᦢᦸᧅ (บอ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ภาษาอาหม 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์)
คำกริยา
[แก้ไข]ဝွၵ်ႇ • (ว่อ̂ก) (คำอาการนาม လွင်ႈဝွၵ်ႇ)
- (ถิ่นใต้) อีกรูปหนึ่งของ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก, “บอก”)