ครหา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ครหา (“การติเตียน”); เทียบภาษาสันสกฤต गर्हा (ครฺหา)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | คะ-ระ-หา | คอ-ระ-หา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ká-rá-hǎa | kɔɔ-rá-hǎa |
ราชบัณฑิตยสภา | kha-ra-ha | kho-ra-ha | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰa˦˥.ra˦˥.haː˩˩˦/(สัมผัส) | /kʰɔː˧.ra˦˥.haː˩˩˦/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ครหา (คำอาการนาม การครหา)
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]ครหา ญ.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ครหา" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ครหา | ครหาโย หรือ ครหา |
กรรมการก (ทุติยา) | ครหํ | ครหาโย หรือ ครหา |
กรณการก (ตติยา) | ครหาย | ครหาหิ หรือ ครหาภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ครหาย | ครหานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ครหาย | ครหาหิ หรือ ครหาภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ครหาย | ครหานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ครหาย หรือ ครหายํ | ครหาสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ครเห | ครหาโย หรือ ครหา |
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- ครหณ ก.