ฟาน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨼᩣ᩠ᨶ (ฟาน), ลาว ຟານ (ฟาน), ไทลื้อ ᦝᦱᧃ (ฟาน), ไทดำ ꪡꪱꪙ (ฟาน), ไทใหญ่ ၽၢၼ်း (ผ๊าน) หรือ ၾၢၼ်း (ฝ๊าน), ไทใต้คง ᥜᥣᥢᥰ (ฝ๊าน), อ่ายตน ၸꩫ် (ผน์),จ้วงแบบจั่วเจียง fanz หรือ nanx, จ้วง duz fanz หรือ du ging
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ฟาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | faan |
ราชบัณฑิตยสภา | fan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /faːn˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ฟาน
- (โบราณ) เก้ง
- เก้งชนิด Muntiacus muntjak, อีเก้ง ก็เรียก
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ฟาน (คำลักษณนาม ตั๋ว)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨼᩣ᩠ᨶ (ฟาน)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- th:กวาง
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำนามภาษาคำเมืองที่ใช้คำลักษณนาม ตั๋ว
- nod:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม