สชฺชุ
หน้าตา
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สมาน + ชฺชุ (“แทนสัตตมีวิภัตติ ลงในกาล, อัพยย, แทนศัพท์ กาล และ ทิวส, กาลสัตตมี”); สชฺชุ เป็นกาลตัทธิต หรือ อัพยยตัทธิต หรือ ทิวสตัทธิต
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) sajju
- (อักษรพราหมี) 𑀲𑀚𑁆𑀚𑀼 (สชฺชุ)
- (อักษรเทวนาครี) सज्जु (สชฺชุ)
- (อักษรเบงกอล) সজ্জু (สชฺชุ)
- (อักษรสิงหล) සජ්ජු (สช₊ฺชุ)
- (อักษรพม่า) သဇ္ဇု (สชฺชุ) หรือ သၹ္ၹု (สซฺซุ) หรือ သၹ်ၹု (สซ์ซุ)
- (อักษรไทย) สัชชุ
- (อักษรไทธรรม) ᩈᨩ᩠ᨩᩩ (สชฺชุ)
- (อักษรลาว) ສຊ຺ຊຸ (สชฺชุ) หรือ ສັຊຊຸ (สัชชุ)
- (อักษรเขมร) សជ្ជុ (สชฺชุ)
- (อักษรจักมา)
นิบาต
[แก้ไข]สชฺชุ
- ในวันเดียวกัน, ในกาลเดียวกัน
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]สชฺชุ
- ในเวลาเดียวกัน
คำสรรพนาม
[แก้ไข]สชฺชุ
- (สชฺชุ/สมานสฺมิํ/สมาเน ทิวสสฺมิํ/กาลสฺมิํ/กาเล, invariable, indeclinable) อธิกรณการก เอกพจน์ของ สมาน
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สชฺชุ